เงินเฟ้อสหรัฐ เเละการประชุม Fed ทดสอบดอลลาร์ เเละตลาดพันธบัตร


Pantira Korkasemwong, ฝ่ายวิจัยการลงทุน XM
รายงาน CPI เเละการประชุม Fed จะเป็นตัวหลักในสัปดาห์หน้า 
พวกมันจะทำให้การพุ่งของดอลลาร์เเละพันธบัตรชลอลงหรือไปมากขึ้น
เงินเฟ้อจีน เเละตัวเลข UK เองก็โดนจับตา
นอกจากนี้ อาทิตย์หน้ายังเงียบหงันด้วยวันหยุดฮอลิเดย์ในวันจันทร์สำหรับสหรัฐ
CPI อาจจะขึ้นได้อีกครั้ง
รายงานล่าสุดของ US consumer price index จะเป็นตัวสำคัญในการตัดสินว่าสหรัฐจะขึ้นดอกเบี้ยต่อไปอีกหรือไม่ ในการประชุม FOMC อีกไม่กี่อาทิตย์ข้างหน้ามันมีเเรงขับเคลื่อนให้ทังกับ Fed เเละนักเทรดทำการตัดสินใจเรื่องนี้
ตัว CPI ของกย. อาจจะช่วยทำให้เรื่องชัดเจนขึ้นในวันพฤหัส หรือไม่มันก็จะสร้างความสับสนมากขึ้นไปอีก ตัว headline CPI ก่อนหน้านั้น พุ่งขึ้นไปที่ 3.7  y/y ในสค การกระโดดในราคาเเก็สเองก็เป็นปัจจัยหลักที่ช่วยเพิ่มการเร่งของ CPI ให้ไปเเตะที่ 0.6 ในสค.
การพยากรณ์เเสดงถึงการชลอลงในกย. ไปที่ 0.3 m/m เเต่ตัวเลขรายปีคาดว่าจะขยับขึ้นไปเเตะ 3.8
ตลาดอาจจะตีความหมายนี่ว่าเป็นสัญญาณของการขึ้นของราคาพลังงาน นอกไปจากตัวเลข CPI จะออกมาดีกว่าที่คาดไว้ มันคงจะไม่มีปฏิกริยาตอบสนองด้านลบมากนัก
อย่างไรก็ดี core CPI จะเป็นตัวตัดสินที่สำคัญ เพราะมันไม่รวมถึงราคาอาหารเเละพลังงาน ส่วน core CPI นั้นลดลงอย่างต่อเนื่องในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมาเเละคาดว่าจะหล่นลงไปมากขึ้นอีกที่ 4.1 ในกย. เพิ่มความน่าจะเป็นให้เเรงดันเงินเฟ้อนั้นลดต่ำลง
การประชุม Fed จะเเเสดงถึงโทนของ hawlish หรือไม่
สำหรับรายงาน CPI อารมณ์จะตัดสินใจจาก producer price index เช่นเกี่ยวกับการประชุมเดือนกย. ของ Fed ที่จะออกมาในวันพุธ  Fed อาจจะเก็บดอกเบี้ยเอาไว้ในการประชุมครั้งที่เเล้ว เเต่พวกเขาก็ยังส่งเสียง hawkish เสียงดังมากอยู่ จนกระทั่งพันธบัตรนั้นพุ่งไปทำไฮใหม่เรียบร้อยเเล้ว
พันธบัตร 10 ปี เเตะระดับพีคของ 16 ปีที่ 4.88 ในวันอังคารที่เเล้ว กระตุ้นดอลลาร์ไปเยอะมาก นักลงทุนจะให้น้ำหนักของความกังวลในการชลอของเศรษฐกิจ เทียบกับความกลัวของเงินเฟ้อที่จะกลับมาอีกครั้ง
หาก Fed นั้นกังวลกับเงินเฟ้อน้อยลง พันธบัตรสามารถปีนขึ้นสูงขึ้นไปได้อีก อย่างไรก็ดีพันธบัตรหรือดอลลาร์ที่โดนกระตุ้นขึ้นมาจะอยู่ได้ไม่นานถ้าไม่มีการสนับสนุนด้วยตัวเลข CPI
สุดท้ายเเล้ว  University of Michigan’s preliminary consumer sentiment survey จะออกมาในวันศกุร์ โดยเฉพาะการคาดการณ์ตัวเลขเงินเฟ้อ
เศรษฐกิจ UK ไม่เเย่ เเต่ก็ไม่ได้ดีนัก
เงินปอนด์โดนทุบด้วยการรวมกันระหว่างการขึ้นของดอลลาร์ เเละโทน dovish ของ BoE รวมถึงภาพรวมที่เเย่ของเศรษฐกิจ UK เอง ทำให้เงินปอนด์เสียตำเเหน่งสกุลเงินที่มีผลงานที่ดีที่สุดในตลาด Fx ไปเรียบร้อยเเล้ว
อย่างไรก็ดี  Office for National Statistics มีการประกาศตัวเลข GDP ใหม่เเละตอนนี้กำลังดูเหมืนว่ามันจะมากกว่าตัวเลข GDP ก่อนหน้าวิกฤตโควิดถึง 1.8% เมื่อเทียบกับคราวก่อนที่การประมาณการบอกว่าจะน้อยกว่าอยู่ 0.2%
นี่ทำให้ UK ไม่ได้เเย่มากนักในสายตาคน นอกจากนี้ service PMI ในกย. เองก็หล่นลงอย่างเร็ว ทำให้ความกังวลเรื่องการถดถอยลดลงไปมาก
เเต่เงินปอนด์เองก็ยังไม่สามารถรีบาวน์ขึ้นมาได้มากนัก นี่บอกว่านักลงทุนยังคงเอียงไปทางความคิดที่ว่าเศรษฐฏิจ UK น่าจะมีศักยภาพโตได้น้อย
ดังนั้นตัวเลขในวันพฤหัส GDP เเละ production รวมถึง trade เองก็ไม่น่าจะมีความสำคัญในการปรับปรุงภาพของปอนด์ในระยะสั้นได้ มากไปกว่าก่อให้เกิดปฏิกริยาเพียงเล็กน้อย ตราบใดที่ทางสหรัฐสามารถลงจอดได้อย่างนุ่มนวล ทาง UK มีเรื่องเซอร์ไพรส์ทางบวกเกิดขึ้นอีก หรือไม่ก็มีเซอรไพรส์ในเงินเฟ้อทางลบ ถึงจะสร้างเวทีให้ปอนด์หนีจากความเสี่ยงขาลงได้
สินทรัพย์ที่พึ่งพิงความเสี่ยงรอให้จีนได้รับการกระตุ้น
ความหวังของสกุลเงินอื่นๆ ที่โดนดอลลาร์ทำร้ายคือการเปลี่ยนของภาพรวมความเสี่ยง โดยเฉพาะสกุลที่มีความสัมพันธ์กับความเสี่ยงเช่นออสซี่ อาจจะสามารถได้อะไรกลับมาบ้างหากตัวเลขของจีนออกมาดี อย่างไรก็ดี การพยากรณ์ไม่ได้ระบุไว้เช่นนั้
Producer prices ในจีนคาดว่าจะหล่นลงไป 2.4% y/y ในกย. เมื่อเทียบกับในสค.ที่มี 3.0%  เเสดงถึงการดีขึ้นในดีมานเเละซับพลายของสินค้า ขณะที่ CPI รายปีนั้นเร่งขึ้นมาเพียง 0.2%
ตัวเลขในวันศุกร์จะรวมถึงตัวเลขการเทรด การส่งออกคาดว่าจะหล่นไปที่ 8.3% ในกย ทำให้จะเป็นการหล่นลงไปในเดือนที่ 5 ติดต่อกัน
สัญญาณในการรีบาวนด์ใดๆ ในเศรษฐกิจของจีน จะช่วยได้อย่างมาก เช่นเดียวกับราคาน้ำมันที่หล่นลงไปอย่างมากในอาทิตย์ที่ผ่านมา
เเม้กระทั่งยูโรเองก็สามารถได้รับประโยชน์จากตัวเลขที่ดีของจีน ทางฝั่งยุโรปจะมีการประชุมของกย.ในวันพฤหัส เเต่มันยากที่จะมีผลกระทบต่อตลาด
ECB มีการเเสดงออกอย่างมากหลังการประชุมครั้งล่าสุด เเละพวก dove เองก็ก็เรียกร้องให้มีการหยุดการขึ้นดอกเบี้ย ดังนั้นถึงเเม้ว่าการประชุมจะบ่งบอกถึงการเอียงไปทางที่จะมีการกระชับนโยบายขึ้น นักลงทุนก็จะมองว่ามันเป็นเรื่อง outdated ไปเเล้ว