RBNZ ยังคงยืนยันการตัดสินใจเดิม มองหาคำเเนะนำ


Pantira Korkasemwong, ฝ่ายวิจัยการลงทุน XM
เดือนตค. นี้จะครบ 1 ปีที่ RBNZ ออกนโยบายรัดตัว ถึงเเม้จะขึ้นดอกเบี้ยไม่หยุด ธนาคารกลางจะไม่ทิ้งการต่อสู้กับเงินเฟ้อเพราะผลกระทบยังไม่รุนเเรงมากนักจนกระทั่งปัจจุบัน นักเทรดคาดการขึ้นดอกเบี้ยอีก 50bps ในวันพุธ 02:30 GMT
RBNZ ขึ้นดอกเบี้ยอีก 50 bps
การยกเลิกการท่องเที่ยวที่ช้าออกไป รวมถึงนโยบายโควิดเป็นศูนย์ของจีน เเละเศรษฐกิจโลกที่มืดมัวลง ต่างกลบผลกระทบของการลดเงินอุดหนุนของธนาคารกลางลงไปจนมองเเทบไม่เห็น ทำให้กีวี่มีความเสี่ยงมากกว่า 10% ในปีที่ผ่านมา
สิ่งที่เเย่ก็คตือการลดค่าเงินท้องถิ่นทำให้การนำเข้านั้นเเพงขึ้น เพิ่มเชื้อเพลิงต่อเงินเฟ้อที่ร้อนเเรงอยู่
ถึงเเม้ว่า RBNZ เป็นที่เเรกที่เข้าสู่นโยบายรัดตัว เพิ่มเป้าหมายจาก 0.25% ไปเป็น 3.0% เเต่เงินเฟ้อยังคงเร่งอยู่ในระดับที่อันตรายเหมือนที่อื่น
รายงาน CPI ล่าสุด สำหรับ 3 เดือนของมิย. เเสดงว่าราคาสินค้าบริโภคเพิ่มขึ้นเร็วสุดใน 32 ปีที่ 7.3% เเละเหนือกว่าเป้าหมายของธนาคารกลางที่ 1-3%
เงินเฟ้อที่อัพเดทล่าสุด จะออกในวันที่ 18 ตค. เเต่จากหลักฐานในต่างประเทศ ไม่มีที่ให้สงสัยมากนักว่าราคาสินค้าบริโภคคงยังขึ้นสูงอยู่อย่างเร็วเเบบน่ากลัว หรืออาจจะชลอลงเพียงนิดหน่อยในไตรมาสที่ 3 เท่านั้นเอง
ดังนั้นนักลงทุนได้ทำการ priced in ไปเเล้ว ตัว RBNZ คงจะเดินบนทาง hawkish ในสัปดาห์นี้ ประกาศการขึ้น 50 bps เป็นครั้งที่ 5 ติดกันเเล้ว การกระทำเเบบนั้นจะทำให้ดอกเบี้ยอยู่เหนือ fund rate ของ Fed
การเข้าเเทรกเเซงตลาด Fx
การอ่อนค่าลงของเงินมาอยู่ในสปอต์ไลท์หลังการเข้าเเทรกเเซงตลาด Fx ของญี่ปุ่น อย่างไรก็ดีสำหรับนิวซีเเลนด์คงต่างกันออกไป อย่างเเรกคือ RBNZ มีเงินคงคลังน้อยกว่าสหรัฐฯ เอเชียเเละยุโรป
อย่างที่สองคือ เงินสกุลอื่นได้ตกอย่างรุนเเรง เเต่กีวี่ยังคงถูกเมื่อเทียบกับดอลลาร์ ยูโรเเละปอนด์ ยังคงทำให้ตลาดส่งออกเเละการเเข่งขันในการท่องเที่ยวอยู่ในตลาดต่างประเทศ
โฟกัสอยู่ที่การเเนะนำนโยบายของดอกเบี้ย
การต่างของนโยบายใน Fed เเละค่าสเปรดสำหรับพันธบัตรสหรัฐฯ เเละนิวซีเเลนด์ 10 ปีนั้นเเคบมาก ดังนั้นนอกไปจากมีการเปลี่ยนอย่างฉับพลันของความเสี่ยงโลก โดยเฉพาะในเศรษฐกิจจีนที่ชลอลง ไกด์ไลน์เดียวของ kiwi/dollar จะอยู่ที่นโยบายของธนาคารกลางในระยะสั้น
ตลาดฟิวเจอร์มองว่าจะขึ้นดอกเบี้ย 50 bps ภายในกพ. 2023 เเละธนาคารกลางคงลดไปเป็น 25bps หลังจากนั้น นอกจากนั้น Adrian Orr เองก็ยอมรับว่ายังมีสิ่งที่ต้องทำอีกมากขณะที่การกระฉับนโยบายจนถึงตอนนี้ก็สุกงอมมากเเล้ว ทำให้ยิ่งเกิดความคาดหวังว่าจะมีการเปลี่ยนทิศทางของธนาคารกลางเร็วๆ นี้
ในอีกทางหนึ่ง นักเศรษฐศาสตร์ส่วนใหญ่รวมถึง Westpac Banking corporation ได้เปลี่ยนเเผนในปี 2023 ไปที่ 4.5-4.75% เเละสูงขึ้นมากกว่าที่ RBNZ คาดเอาไว้ที่ 4.10% เนื่องจากมองว่าอาจจะมีการระเบิดของเงินเฟ้อรอบสองเกิดขึ้นได้
ตัวเลขที่เเข็งเเรงในไตรมาส 2 รวมถึงการกระเตื้องของตลาดเเรงงาน เเละการพัฒนาขึ้นในกำไรที่คาดหวังเเละธุรกรรมทางเศรษฐกิจ เหล่านี้ต่างบ่งบอกว่าเศรษฐกิจยังสามารถไปต่อได้ขณะที่ต้นทุนยังสูงขึ้น
อย่างไรก็ดี ภาคส่วนอย่างเช่นสังหาจำเป็นต้องมอนิเตอร์อย่างใกล้ชิดเพื่อดูหนี้ต่อรายได้ที่หากราคายังคงสูงขึ้นต่อไปเเบบนี้
ตาม Westpac ราคาสังหาได้ลดลงไป 9.0% ตั้งเเต่พย. ที่เเล้ว เเละการใช้จ่ายในการค้าปลีกส่งสัญญาณว่าจะอ่อนลงเร็วๆ นี้ เเต่ค่าจ้างที่โตขึ้นยังถือว่าช้าหากเทียบกับเงินเฟ้อ
NZD/USD
ดังนั้น นักลงทุนได้สัญญาณสับสนเกี่ยวกับเส้นทางของนโยบายการเงินในปี 2023
กี่วี่ดูเหมือนจะอ่อนไหวในภาษาที่สื่อออกมาของ RBNZ หากธนาคารกลางมองว่าการหยุดดอกเบี้ยทีจุดพีคสามารถทำได้เร็วกว่าที่คาดเอาไว้ เเละทำให้ความเสียงของตลาดสังหาอ่อนลง kiwi/dollar อาจจะขยายต่อไปที่ใกล้กัเเนวต้าน 0.5724 เเละไปที่ 20-day simple moving average (SMA) ที่ 0.5900 หากสูงกว่านี้นักเทรดจะมองหาการทะลุไปที่ระดับ 0.6000
อีกทางเลือกหนึ่ง หากผู้ออกนโยบายเเสดงถึงความกังวลเกี่ยวกับเงื่อนไขเศรษฐกิจทั่วโลก เเละคิดว่านโยบายรัดตัวสามารถที่จะทำให้เงินเฟ้อหยุดได้เเล้วในปีหน้า คู่เงินอาจจะปิดต่ำกว่าเเนวรับที่ 0.5627 หากลงไปมากกว่านี้ก็อาจจะไปถึงระดับ 0.5468 ได้