เงินเฟ้อสหรัฐฯอาจถึงจุดพีค ดอลลาร์จะตามไปด้วยหรือไม่?


Pantira Korkasemwong, ฝ่ายวิจัยการลงทุน XM
Fed ส่งสัญญาณว่าจะหลีกเลี่ยงความช็อคจากการขึ้นดอกเบี้ย เน้นไปที่การหนีเศรษฐกิจถดถอยมากกว่าการลดเงินเฟ้อ ข้อมูลเงินเฟ้ออีกรอบหนึ่งกำลังมาสัปดาห์หน้า เเละ Fed อาจจะได้รับข่าวดีในที่สุด เมื่อ CPI รายปีอาจจะถึงจุดพีคเเล้ว นี่จะเป็นจุดจบของการขึ้นดอลลาร์หรือไม่? ไม่น่าจะใช่
จุดพีคของเงินเฟ้อ
สัญญาณของ Fed สัปดาห์นี้อยู่ที่การละมุนมากกว่าความกลัว Powerll ตัดข่าวลือเรื่องการขึ้นดอกเบี้ย 75 bps เเละเปิดประตูสู่การใช่นโยบายรัดตัวช่วงฤดูร้อนนี้ เเผนคือการขึ้นดอกเบี้ย 0.5 หลายครั้ง เเล้วค่อยตัดสินอีกครั้ง
ตลาดคาดหวังไว้ว่าจะมี hawkish มากกว่านี้ ดังนั้นสิ่งที่เกิดขึ้นนี้อาจจะกระทบต่อดอลลาร์ เเต่ตัวดอลลาร์เองก็กลับมายืนได้อย่างเร็ว Fed บอกนักลงทุนว่าจะไปอย่างช้าๆ เพราะไม่อยากจะเสี่ยงต่อการถดถอยเนื่องจากเหยียบเบรกเงินเฟ้อเเรงเกินไป
นักเทรดสรุปว่าหากไม่ลงกำลังอย่างเต็มที่ตอนนี้ Fed  ต้องเเก้ปัญหาเงินเฟ้อมากกว่าเดิมอีกในภายหลัง ตลาดคาดหวังไปเเล้วว่าจะมีโอกาสที่ดอกเบี้ยขึ้น 75 bps ในมิย. ที่ 80% ขณะที่พันธบัตรพุ่งสูงขึ้นไปอีก นั่นคือตลาดพันธบัตรบอกว่า Fed ล้มเหลวในนโยบาย
เหล่านี้ทำให้ความสำคัญของ CPI  เดือนเมษ. ที่จะออกในวันพุธยกขึ้นไปอีก การคาดการณ์ชี้ว่าจะอยู่ที่ 0.2% ซึ่งต่ำกว่าเดือนล่าสุด มันจึงน่าเชื่อมากกว่าว่าเงินเฟ้อถึงจุดพีคเเล้ว เเต่นั่นกลับไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้น
Business surveys จาก Markit and ISM ส่งสัญญาณว่าเเรงดันเงินเฟ้อยังคงร้อนเเรงอยู่ในเมษ. เเต่ว่าจุดพีคคือ base effects จากปีที่เเล้วเริ่มมาเเล้ว ในเวลานี้ปีที่เเล้วคือตอนเงินเฟ้อเริ่มจะสูงขึ้น ดังนั้น  monthly prints ลดลงไปจากการคำนวณของ CPI 12 เดือน มันยากที่ CPI รายปีจะยังคงขึ้นเรื่อยๆ
ในอีกเเง่หนึ่ง CPI รายเดือนคาดการณ์ที่ 0.2% มากจากนักเศรษฐศาสตร์ อย่างไรก็ดีตัวเลขใดๆ ใต้ 0.9%  ซึ่งจะโดนเขี่ยออกจากการคำนวณในตอนนี้ จะผลักให้ CPI รายปีต่ำลง มันอาจจะเป็นผลในเชิงมายา เเต่ก็พอที่จะทำให้ความกังวลสงบลงในเรื่องเงินเฟ้อได้
สำหรับดอลลาร์ ครองพื้นที่ในทุกทางช่วงหลัง หากตัวเลขออกมาทำลายความกังวลเกี่ยวกับเงินเฟ้อได้ เเละนักเทรดลดการพนันเรื่องการขึ้นดอกเบี้ยลง ดอลลาร์อาจจะถอยหลังลงได้ เเต่ไม่เพียงพอที่จะทำให้เกิดการกลับเทรนด์ได้
วิกฤตพลังงานทำให้ยุโรปทรมาน ประเทศจีนยังคงมุ่งมั่นเรื่องโควิดเป็น 0 เเละล็อกดาวน์ เเละ BoJ เองก็ยอมสละเยนเพื่อที่จะดับเบิ้ลนโยบายความคุมพันธบัตร สิ่งเหล่านี้ทำให้ดอลลาร์ยากมากที่จะกลายเป็นผู้เเพ้ขึ้นมา
เงินปอนด์อ่อนก่อนหน้า GDP
ใน UK ตัวเลข GDP มีค. เเละไตรมาสเเรกจะออกในวันพฤหัส ปอนด์จะตกลงสัปดาห์นี้หลังจาก BoE ขึ้นดอกเบี้ยอย่างระมัดระวัง เปิดประตูสู่การใช้นโยบายรัดตัวเร็วๆ นี้
ความเสี่ยงที่เศรษฐกิจขาลงเกิดขึ้นเรื่องมากขึ้น เเละ BoE โฟกัสไปที่การหลีกเงินฝืดมากกว่าการสู้กับเงินเฟ้อ ตลาดตอบสนองโดยวาดภาพทิศทางของดอกเบี้ย UK ลดลง ทำให้ฉุดเงินปอนด์ลงไปที่จุดต่ำสุดในรอบ 2 ปี ตลาดพันธบัตรเองก็เพิ่มเชื้อไปกับการขายทิ้งในครั้งนี้ด้วยเหมือนกัน
ตลาดเงินยังคงคาดไว้ว่าจะมีการขึ้นดอกเบี้ยอีก 5 ครั้ง ครั้งละ 0.25 ในปีนี้ ซึ่งอาจจะมองโลกเเง่ดีไปหน่อย ความผันผวนในตลาดหุ้นมีเเนวโน้มที่จะทำร้ายปอนด์ ดังนั้นสภาวะเเวดล้อมทั้งหมดดูเหมือนจะท้าทายอย่างยิ่ง
ข้อมูลจีนอยู่ในการโฟกัส
กลับมาที่จีน ตัวเลขในเมษ. จะเเตะตลาดเร็วขึ้นในวันจันทร์ ก่อนหน้าเงินเฟ้อออกในวันพุธ การนำเข้าในประเทศกระฉูดขึ้นเดือนที่เเล้วเพราะล็อกดาวน์ทำให้สินค้าขาดเเคลน เเละตัวเลขที่เเย่กว่าเดิมคาดว่าจะเห็นได้ในเดือนนี้ ด้วยการนำเข้าจะตกลง 3% ในรายปี
นี่ทำให้เกิดข่าวร้ายสำหรับประเทศที่พึ่งอุปสงค์ของจีนในตัวสินค้าคอมโมดิตี้ เช่นออสเตรเลีย
เเละตลาดเงินก็ยังคาดการขึ้นดอกเบี้ย 0.25 ไว้อีก 11 ครั้งจาก RBA ในปีนี้ มันจะเป็นปาฏิหารถ้าหาก RBA สามารถทำเเบบนั้นได้ ขณะที่ยังมีความเสี่ยงของออสซี่ในขาลงอยู่
อีกหนึ่งอย่างคือต้องจับตาดูดอลลาร์ฮ่องกง ปัจจุบันทดสอบความเเข็งเเรงกับดอลลาร์ ทางผู้ออกนโยบายต้องตัดสินใจว่าจะสู่้ต่อโดยผลาญ Fx สำรอง หรือทิ้งมันไปเสีย เศรษฐกิจฮ่องกงอ่อนมาก ดังนั้นหากพิจารณาการขึ้นดอกเบี้ยของ Fed ด้วยแล้ว จึงเลิกคิดไปได้เลย